วันเสาร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2557

Law1003 (2) กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมสัญญา

ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ ( ปพพ )


มาตรา 154 การแสดงเจตนาใด แม้ในใจจริงผู้แสดง จะมิได้เจตนา ให้ตนต้องผูกพัน ตามที่ได้แสดงออกมาก็ตาม หาเป็นมูลเหตุให้ การแสดงเจตนานั้น เป็นโมฆะ ไม่  เว้นแต่  คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งจะได้รู้ถึงเจตนาอันซ่อนอยู่ในใจของผู้แสดงนั้น 

มาตรา 155 การแสดงเจตนาลวง โดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง เป็นโมฆะ แต่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ บุคคลภายนอก ผู้กระทำโดยสุจริต และ ต้องเสียหาย จากการแสดงเจตนาลวง นั้น มิได้ 
                   ถ้า การแสดงเจตนาลวง ตามวรรคหนึ่ง ทำขึ้นเพื่อ อำพรางนิติกรรม อื่น ให้นำ บทบัญญัติ ของกฏหมายอันเกี่ยวกับนนิติกรรมที่ถูกอำพราง มาใชับังคับ


มาตรา 156 การแสดงเจตนา โดย สำคัญผิด ในสิ่ง ซึ่งเป็น สาระสำคัญ แห่ง นิติกรรม เป็นโมฆะ
                   ความสำคัญผิด ในสิ่ง ซึ่งเป็นสาระสำคัญ แห่ง นิติกรรม ตาม วรรคหนึ่ง ได้แก่ ความสำคัญผิด ในลักษณะ ของนิติกรรม ความสำคัญผิดใน ตัวบุคคล ซึ่ง เป็นคู่กรณี แห่งนิติกรรม และความสำคัญผิด ในทรัพย์สิน ซึ่งเป็นวัตถุแห่ง นิติกรรม เป็นต้น  <  ผิดคน ผิดของ ผิดแบบ >

มาตรา 157
               การแสดงเจตนา โดย สำคัญผิดในคุณสมบัติ ของบุคคล หรือ ทรัพย์สิน เป็นโมฆียะ
               ความสำคัญผิด ตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็น ความสำคัญผิด ในคุณสมบัติ ซึ่งตามปกติ ถือว่า เป็นสาระสำคัญ ซึ่งหากมิได้มี ความสำคัญผิด ดังกล่าว การอัน เป็นโมฆียะ นั้น คงจะมิได้กระทำขึ้น < ถูกคน ถูกของ ไม่ได้สเปค >

มาตรา 158

มาตรา 159

มาตรา 160 การบอกล้างโมฆียะกรรม เพราะ ถูกกลฉ้อฉล ตามมาตรา 159 ห้ามมิให้ ยกเป็นข้อต่อสู้ บุคคลภายนอก ผู้กระทำการ โดยสุจริต

@กระตุกต่อมความคิด
+commonlaw 

Please Give Us Your 1 Minute In Sharing This Post!
SOCIALIZE IT →
FOLLOW US →
SHARE IT →
Powered By: BloggerYard.Com

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

คลังบทความของบล็อก